EZ-SRWO Wiki
 
(ไม่แสดง 21 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 3: บรรทัดที่ 3:
   
   
=='''Exploration'''==
+
=='''Expand City'''==
 
เป็นการเพิ่มพื้นที่ของเมืองเรา โดยที่เราสามารถระบุได้ว่า จะทำการสำรวจหาพื้นที่เพิ่มกี่ Turn โดยปริมาณของพื้นที่ที่จะสำรวจได้นั้น จะลดน้อยลงเรื่อยๆ ซึ่งจะมีบอกปริมาณพื้นที่ที่สามารถทำการสำรวจได้ไว้ด้วย
 
เป็นการเพิ่มพื้นที่ของเมืองเรา โดยที่เราสามารถระบุได้ว่า จะทำการสำรวจหาพื้นที่เพิ่มกี่ Turn โดยปริมาณของพื้นที่ที่จะสำรวจได้นั้น จะลดน้อยลงเรื่อยๆ ซึ่งจะมีบอกปริมาณพื้นที่ที่สามารถทำการสำรวจได้ไว้ด้วย
   
บรรทัดที่ 10: บรรทัดที่ 10:
 
''แปลว่า ทำการสำรวจ 1 turn จะได้รับพื้นที่ 19 เอเคอร์''</span><br />
 
''แปลว่า ทำการสำรวจ 1 turn จะได้รับพื้นที่ 19 เอเคอร์''</span><br />
   
 
=='''Manage City'''==
 
  +
พื้นที่ที่เราได้มาจากการสำรวจนั้น จะเป็น Free acre หรือที่เรียกกันว่าพื้นที่ว่างทั้งหมด ไม่สามารถใช้ประโยชน์อะไรได้เลย ดังนั้น หลังจากทำการสำรวจพื้นที่เพิ่มจนถึงปริมาณที่เราต้องการแล้ว ก็ทำการจัดสรรพื้นที่เป็นสิ่งก่อสร้างต่างๆตามที่เราต้องการ โดยเข้าไปในแถบด้านบนที่ชื่อ [City & Robot] -> [Manage City] ซึ่งจะมีหน้าตาตามรูปด้านล่างนี้ <br />
=='''City Construction'''==
 
  +
<br />
ใช้สำหรับสร้าง/ทำลายสิ่งก่อสร้างประเภทต่างๆภายในเมือง โดยจะมีบอกรายละเอียดว่า เรามีพื้นที่ว่างอยู่เท่าไหร่ และมีพื้นที่เมืองทั้งหมดเท่าไหร่
 
 
[[ไฟล์:ManageCity.jpg]] <br />
 
  +
<br />
<span style="color:#6495ED">''ตัวอย่าง :''
 
 
Free acres 0/1657 : มีพื้นที่ว่างเป็นจำนวน 0 เอเคอร์จากพื้นที่ทั้งหมด 1657 เอเคอร์<br />
[[ไฟล์:Acre.jpg]]
 
 
Current size : ปริมาณของสิ่งก่อสร้างนั้นๆที่เรามีอยู่ <br />
''แปลว่า มีพื้นที่ว่าง 100 จากทั้งหมด 290 เอเคอร์''</span><br />
 
  +
Wanted size : ปริมาณของสิ่งก่อสร้างนั้นๆที่เราต้องการ <br />
 
  +
<br />
  +
วิธีการจัดสรรพื้นที่นั้น ให้เราใส่ปริมาณของสิ่งก่อสร้างที่ต้องการแต่ละชนิดลงในช่อง Wanted size แล้วจึงกดค่อยปุ่ม Build เช่น ถ้ามีพื้นที่ทั้งหมด 1800 ก็ให้ใส่ปริมาณสิ่งก่อสร้างแต่ละชนิดให้รวมกันได้ 1800 แล้วจึงกดปุ่ม Build <span style="color:#FF0000">'''ปริมาณสิ่งก่อสร้างที่เราไม่ได้จัดสรรจะอยู่ในสถานะ Free acre ดังนั้นจึงควรที่จะจัดสรรให้หมด'''</span> <br />
  +
โดยแรกเริ่มมานั้น จะเสีย 1 เทิร์นในการจัดสรรพื้นที่ และหากมีการปรับแก้ครั้งที่สองโดยที่ยังไม่ครบ 20 ชม. จะเสีย 50 เทิร์น ต่อครั้ง (ถ้าเป็น Premium User จะเสีย 25 เทิร์น) และเริ่มนับไปอีก 20 ชม. ถึงจะเสียแค่ 1 เทิร์น (เทิร์นที่เสียในการปรับแก้จำนวนสิ่งปลูกสร้าง ยังฟื้น HP/EN และให้เงินตามปกติ) โดยบนหน้า Manage City จะมีบอกเวลาที่เราทำการจัดสรรครั้งสุดท้ายระบุไว้ให้เห็น รวมถึงจำนวนเทิร์นที่ต้องใช้ในการจัดสรรด้วย <br />
  +
<br />
   
 
<span style="font-size: 12pt;">'''ประเภทของสิ่งก่อสร้าง'''</span>
 
<span style="font-size: 12pt;">'''ประเภทของสิ่งก่อสร้าง'''</span>
บรรทัดที่ 31: บรรทัดที่ 35:
 
ข้อควรจำ : ปริมาณเงินที่จะได้รับต่อ 1 Turn จะถูกจำกัดไว้มากที่สุดเท่ากับครึ่งหนึ่งของพื้นที่ที่เรามี ดังนั้น หากเรามีพื้นที่ 2,000 เอเคอร์ และมี Trade center 1,500 เอเคอร์ เราก็จะได้เงินเพียง 1,000 credit ต่อ 1 Turn เท่านั้น
 
ข้อควรจำ : ปริมาณเงินที่จะได้รับต่อ 1 Turn จะถูกจำกัดไว้มากที่สุดเท่ากับครึ่งหนึ่งของพื้นที่ที่เรามี ดังนั้น หากเรามีพื้นที่ 2,000 เอเคอร์ และมี Trade center 1,500 เอเคอร์ เราก็จะได้เงินเพียง 1,000 credit ต่อ 1 Turn เท่านั้น
 
|}
 
|}
  +
<br />
 
  +
{{box start|bkgndcolor=#CC0000|textcolor=#FFFFFF}}
  +
ข้อควรระวัง : จำนวนเงินที่เราได้รับต่อเทิร์นจะมีค่าเท่ากับ Trade Center - Radar ดังนั้นจึงควรคิดให้ดีก่อนที่จะสร้าง Radar
  +
|}
  +
<br />
   
 
===='''Power plant'''====
 
===='''Power plant'''====
บรรทัดที่ 37: บรรทัดที่ 45:
   
   
===='''Industry'''====
+
===='''Research Center'''====
  +
: ทำหน้าที่เพิ่ม Research Point โดยเมื่อสะสมได้ครบตามจำนวน ก็จะเพิ่มระดับของ Research Level ได้ โดย Research Level ทำหน้าที่เป็นตัวคูณคะแนนที่ได้จาก Team Battle เช่น ถ้าได้คะแนนมา 7 แต้ม และมี Research Level 3 ก็จะเอา 7 x 3 = 21แต้ม<br />
: ทำหน้าที่สุ่มผลิต Item ให้กับเรา โดยโอกาสที่จะได้รับ Item นั้นจะเท่ากับ Industry / 100 (หน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์) ซึ่งเมื่อเราใช้ Turn ทุกรูปแบบ จะมีโอกาสได้รับ Item เสมอ <span style="color:#FF0000">''ยกเว้นการสั่งโจมตีหุ่นตัวอื่น และการใช้คำสั่ง Special Upgrade''</span>
 
  +
<br />
 
  +
: ค่า Research Point ที่จะได้ต่อ 1 เทิร์นจะแตกต่างกันไปตามปริมาณพื้นที่ที่มี<br />
 
  +
: เมื่อพื้นที่ > 10000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 14<br />
===='''Radar'''====
 
  +
: เมื่อพื้นที่ > 7000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 16<br />
: ทำหน้าที่
 
  +
: เมื่อพื้นที่ > 5000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 18<br />
 
  +
: เมื่อพื้นที่ > 2000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 20<br />
 
  +
: เมื่อพื้นที่ < 2000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 25<br />
===='''Building site'''====
 
  +
<br />
: ทำหน้าที่
 
  +
: สูตรคือ เอาจำนวน Research Center หารด้วยตัวหาร เศษมากกว่า 0.5 ก็ปัดขึ้น เศษน้อยกว่า 0.5 ก็ปัดลง<br />
  +
: เมื่อเลเวลสูงขึ้น ค่า Research Point ที่ใช้ก็จะเพิ่มขึ้น<br />
  +
{{box start|bkgndcolor=#6495ED|textcolor=#FFFFFF}}
  +
ข้อควรจำ : Research Level และ Research Point จะไม่ถูก reset จนกว่าจะจบซีซั่น
  +
|}
  +
<br />
   
 
===='''Factory'''====
<span style="font-size: 10pt;">'''สูตรคำนวณปริมาณของสิ่งก่อสร้าง'''</span><br />
 
  +
: ทำหน้าที่ลดราคาของ Item โดยสูตรคำนวณของราคา Item ที่ลดลงไปคือ Factory x 100 / พื้นที่ทั้งหมดของเรา (หน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์) แต่จะถูกจำกัดให้ส่งผลสูงสุดที่ 50%<br />
Repair Site = ( Building Site + 1 ) / 50<br />
 
  +
<br />
Trade Center = ( Building Site + 1 ) / 60<br />
 
  +
: <span style="color:#6495ED">''ตัวอย่าง : Item ราคาสุ่ม 8000-10000 หากมีพื้นที่ 1,000 และมี Factory อยู่ 100 ซึ่งก็คือ 10% ของพื้นที่ทั้งหมด ราคาของ Item ก็จะลดลงไปอยู่ที่ 7200-9000''</span><br />
Power Plant = ( Building Site + 1 ) / 40<br />
 
Industry = ( Building Site + 1 ) / 30<br />
 
Radar = ( Building Site + 1 ) / 75<br />
 
Building Site = ( Building Site + 1 ) / 10<br />
 

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:52, 31 ตุลาคม 2556

คำสั่งต่างๆบนหน้า Manage City

หน้าต่าง Manage City จะอยู่ภายใต้แถบ City & Robot ซึ่งการจัดสรรพื้นที่นี้ ถือเป็นปัจจัยสำคัญอย่างมากที่จะช่วยให้ผู้เล่นสามารถทำอันดับได้สูงๆ โดยรายละเอียดของคำสั่งต่างๆมีดังนี้


Expand City

เป็นการเพิ่มพื้นที่ของเมืองเรา โดยที่เราสามารถระบุได้ว่า จะทำการสำรวจหาพื้นที่เพิ่มกี่ Turn โดยปริมาณของพื้นที่ที่จะสำรวจได้นั้น จะลดน้อยลงเรื่อยๆ ซึ่งจะมีบอกปริมาณพื้นที่ที่สามารถทำการสำรวจได้ไว้ด้วย

ตัวอย่าง : Explore แปลว่า ทำการสำรวจ 1 turn จะได้รับพื้นที่ 19 เอเคอร์

Manage City

พื้นที่ที่เราได้มาจากการสำรวจนั้น จะเป็น Free acre หรือที่เรียกกันว่าพื้นที่ว่างทั้งหมด ไม่สามารถใช้ประโยชน์อะไรได้เลย ดังนั้น หลังจากทำการสำรวจพื้นที่เพิ่มจนถึงปริมาณที่เราต้องการแล้ว ก็ทำการจัดสรรพื้นที่เป็นสิ่งก่อสร้างต่างๆตามที่เราต้องการ โดยเข้าไปในแถบด้านบนที่ชื่อ [City & Robot] -> [Manage City] ซึ่งจะมีหน้าตาตามรูปด้านล่างนี้

ManageCity

Free acres 0/1657 : มีพื้นที่ว่างเป็นจำนวน 0 เอเคอร์จากพื้นที่ทั้งหมด 1657 เอเคอร์
Current size : ปริมาณของสิ่งก่อสร้างนั้นๆที่เรามีอยู่
Wanted size : ปริมาณของสิ่งก่อสร้างนั้นๆที่เราต้องการ

วิธีการจัดสรรพื้นที่นั้น ให้เราใส่ปริมาณของสิ่งก่อสร้างที่ต้องการแต่ละชนิดลงในช่อง Wanted size แล้วจึงกดค่อยปุ่ม Build เช่น ถ้ามีพื้นที่ทั้งหมด 1800 ก็ให้ใส่ปริมาณสิ่งก่อสร้างแต่ละชนิดให้รวมกันได้ 1800 แล้วจึงกดปุ่ม Build ปริมาณสิ่งก่อสร้างที่เราไม่ได้จัดสรรจะอยู่ในสถานะ Free acre ดังนั้นจึงควรที่จะจัดสรรให้หมด
โดยแรกเริ่มมานั้น จะเสีย 1 เทิร์นในการจัดสรรพื้นที่ และหากมีการปรับแก้ครั้งที่สองโดยที่ยังไม่ครบ 20 ชม. จะเสีย 50 เทิร์น ต่อครั้ง (ถ้าเป็น Premium User จะเสีย 25 เทิร์น) และเริ่มนับไปอีก 20 ชม. ถึงจะเสียแค่ 1 เทิร์น (เทิร์นที่เสียในการปรับแก้จำนวนสิ่งปลูกสร้าง ยังฟื้น HP/EN และให้เงินตามปกติ) โดยบนหน้า Manage City จะมีบอกเวลาที่เราทำการจัดสรรครั้งสุดท้ายระบุไว้ให้เห็น รวมถึงจำนวนเทิร์นที่ต้องใช้ในการจัดสรรด้วย

ประเภทของสิ่งก่อสร้าง


Repair site

ทำหน้าที่ฟื้นฟูเลือดให้กับหุ่นของเรา ซึ่งปริมาณการฟื้นค่า HP จะเท่ากับ Repair site x 2 / 3 ต่อหนึ่งเทิร์นที่ใช้ โดยการใช้ Turn ทุกรูปแบบ จะได้รับการฟื้นคืนค่า HP เสมอ ยกเว้นการสั่งโจมตีหุ่นตัวอื่น และการใช้คำสั่ง Special Upgrade


Trade center

ทำหน้าที่เพิ่มเงินให้กับเรา โดย Trade center 1 เอเคอร์ จะให้เงินเรา 1 credit ต่อหนึ่งเทิร์นที่ใช้ โดยการใช้ Turn ทุกรูปแบบ จะได้รับเงินเพิ่มเสมอ ยกเว้นการสั่งโจมตีหุ่นตัวอื่น และการใช้คำสั่ง Special Upgrade

ข้อควรจำ : ปริมาณเงินที่จะได้รับต่อ 1 Turn จะถูกจำกัดไว้มากที่สุดเท่ากับครึ่งหนึ่งของพื้นที่ที่เรามี ดังนั้น หากเรามีพื้นที่ 2,000 เอเคอร์ และมี Trade center 1,500 เอเคอร์ เราก็จะได้เงินเพียง 1,000 credit ต่อ 1 Turn เท่านั้น


ข้อควรระวัง : จำนวนเงินที่เราได้รับต่อเทิร์นจะมีค่าเท่ากับ Trade Center - Radar ดังนั้นจึงควรคิดให้ดีก่อนที่จะสร้าง Radar


Power plant

ทำหน้าที่ฟื้นฟู EN ให้กับหุ่นของเรา ซึ่งปริมาณการฟื้นค่า EN จะเท่ากับ Power plant / 10 ต่อหนึ่งเทิร์นที่ใช้ โดยการใช้ Turn ทุกรูปแบบ จะได้รับการฟื้นคืนค่า EN เสมอ ยกเว้นการสั่งโจมตีหุ่นตัวอื่น และการใช้คำสั่ง Special Upgrade


Research Center

ทำหน้าที่เพิ่ม Research Point โดยเมื่อสะสมได้ครบตามจำนวน ก็จะเพิ่มระดับของ Research Level ได้ โดย Research Level ทำหน้าที่เป็นตัวคูณคะแนนที่ได้จาก Team Battle เช่น ถ้าได้คะแนนมา 7 แต้ม และมี Research Level 3 ก็จะเอา 7 x 3 = 21แต้ม


ค่า Research Point ที่จะได้ต่อ 1 เทิร์นจะแตกต่างกันไปตามปริมาณพื้นที่ที่มี
เมื่อพื้นที่ > 10000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 14
เมื่อพื้นที่ > 7000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 16
เมื่อพื้นที่ > 5000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 18
เมื่อพื้นที่ > 2000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 20
เมื่อพื้นที่ < 2000 ค่าของตัวหารจะเท่ากับ 25


สูตรคือ เอาจำนวน Research Center หารด้วยตัวหาร เศษมากกว่า 0.5 ก็ปัดขึ้น เศษน้อยกว่า 0.5 ก็ปัดลง
เมื่อเลเวลสูงขึ้น ค่า Research Point ที่ใช้ก็จะเพิ่มขึ้น

ข้อควรจำ : Research Level และ Research Point จะไม่ถูก reset จนกว่าจะจบซีซั่น


Factory

ทำหน้าที่ลดราคาของ Item โดยสูตรคำนวณของราคา Item ที่ลดลงไปคือ Factory x 100 / พื้นที่ทั้งหมดของเรา (หน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์) แต่จะถูกจำกัดให้ส่งผลสูงสุดที่ 50%


ตัวอย่าง : Item ราคาสุ่ม 8000-10000 หากมีพื้นที่ 1,000 และมี Factory อยู่ 100 ซึ่งก็คือ 10% ของพื้นที่ทั้งหมด ราคาของ Item ก็จะลดลงไปอยู่ที่ 7200-9000